• Thailand (TH) language switcher
  • English (UK) language switcher

White Style normal-style white-yellow

decrease-font normal-font increase-font

Calendar  Youtube Youtube Facebook    
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับองค์กร
    • เกี่ยวกับองค์กร
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และหน้าที่
    • โครงสร้างองค์กร
    • ติดต่อเรา
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผังเว็บไซต์

    ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง

    • เกี่ยวกับซีไอโอ
    • วิสัยทัศน์และนโยบายต่างๆ
    • การบริหารงานด้าน ICT
    • ข่าวสารจากซีไอโอ
    • ปฏิทินกิจกรรมซีไอโอ
  • นโยบายและแผน
    • คำแถลงนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาล
    • นโยบายด้านพลังงานของกระทรวงพลังงาน
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน
    • แผนแม่บทพลังงาน
    • ยุทธศาสตร์สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • แผนปฏิบัติราชการรายปี และแผนปฎิบติราชการระยะ 5 ปี

    แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว (TIEB)

    • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
    • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
    • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
    • แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan)
    • แผนจัดหาก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan)

    การติดตามและประเมินผล

    • รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านพลังงานของประเทศไทย
    • รายงานความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติราชการ
    • รายงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
    • การดำเนินงานด้านพลังงานของ สนพ.
    • โครงการภายใต้กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
    • การดำเนินงานตามมติ กพช.

    ความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    • สหประชาชาติ

      • กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ (UNFCCC)
      • การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ (COP)
      • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)

        • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
        • Joint Implementation (JI)
        • Emission Trading (ET)
        • Clean Development Mechanism (CDM)
        • Paris Agreement Adopted
        • Bali Action Plan

          • Bali Action Plan
          • AWG-LCA
          • NAMAS
          • Sectoral Approach : SA
          • MRV
          • AWG-KP
          • Concun Agreement
          • ประเทศไทย

            • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2550
            • คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
            • องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
            • แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ
            • แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564
            • ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2551-2555
            • กระทรวงพลังงาน

              • คณะทำงานประสานงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศฯ
              • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
              • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
              • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
              • อภิธานศัพท์
  • กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
    • พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด
    • คำสั่งนายกรัฐมนตรี
    • กฏกระทรวง
    • มติ ครม.ด้านพลังงาน
    • คำพิพากษาคดีที่เกี่ยวข้อง กับ สนพ.
    • ประกาศ/คำสั่งสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • การจัดทำสรุปสาระสำคัญและคำแปลกฎหมาย
    • การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
  • คณะกรรมการ/อนุกรรมการ
    • คณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน (กพง.)
    • คณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • คณะกรรมการกองทุนเงินอุดหนุนจากสัญญาโรงกลั่นปิโตรเลียม
    • คณะกรรมการบริหารกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (กบน.)

    คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.)

    • มติ
    • คำสั่ง
    • ประกาศ

    คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.)

    • มติ
    • คำสั่ง
    • ประกาศ

    คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (กทอ.)

    • คณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
    • คณะอนุกรรมการกลั่นกรองงบประมาณกองทุนฯ
    • คณะอนุกรรมการประเมินผลโครงการภายใต้แผนอนุรักษ์พลังงาน
    • มติคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
    • มติคณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
  • บริการข้อมูลข่าวสาร
    • สถานการณ์พลังงาน
    • วารสารนโยบายพลังงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานสถิติพลังงานประจำปี
    • รายงานผลการศีกษานโยบายพลังงาน
    • จดหมายข่าวอนุรักษ์พลังงาน
    • ข่าว สนพ.
    • ข่าวพลังงาน
    • ประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • ห้องสมุด สนพ.
    • INFOGRAPHIC
    • FAQ
    • บริการประชาชน
    • ธรรมบาลข้อมูล

    เอกสารเผยแพร่ / หนังสือ / สาระน่ารู้

    • เอกสารเผยแพร่
    • หนังสือ
    • สาระน่ารู้
  • การกำกับดูแลองค์กร
    • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    • แผนปฏิบัติการดิจิทัล ของ สนพ.
    • ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด
    • ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาค ระหว่างหญิงชาย
    • ศูนย์บริการร่วม
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
    • กลุ่มงานจริยธรรม
    • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    การพัฒนาระบบบริหาร

    • นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี
    • กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ
    • คำรับรองการปฏิบัติราชการ (KPI)
    • การควบคุมภายใน
    • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
    • มาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน
    • แผนปฏิรูปองค์การ
    • การแบ่งส่วนราชการภายในกรม
    • ITA

      • ITA 2565
      • ITA 2566

    สรุปผลการดำเนินงานจัดซื้อจัดจ้าง

    • งบประมาณ
    • กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและกองทุนพัฒนาไฟฟ้า
  • ไฟฟ้า
    • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
    • นโยบายไฟฟ้ารองรับ AEC
      • การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
      • การซื้อขายไฟฟ้าอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
      • โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี
      • โครงการความร่วมมือด้านพลังงานไทย-เมียนมาร์
      • แผนพัฒนาระบบไฟฟ้ารองรับ AEC
    • แผนรองรับวิกฤติด้านไฟฟ้า
    • ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน
      • IPP
      • SPP
      • VSPP
      • สถานะ IPP, SPP ,VSPP
    • นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • ราคาไฟฟ้า
      • นโยบายกำหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
      • สูตร Ft
      • อัตรา Ft
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กฟน.
      • อัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก กฟภ.
      • ประมาณการค่าไฟฟ้ารายเดือน
        • ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ให้บริการ กฟน.
        • ค่าไฟฟ้าในพื้นที่ให้บริการ กฟภ.
    • Smart Grid
      • แผนแม่บท
      • แผนขับเคลื่อน
    • มาตรการด้านไฟฟ้า
      • Demand Response
      • TOU
      • TOD
    • สถานะการผลิตและส่งจ่ายไฟฟ้า
ไฟฟ้า นโยบายไฟฟ้ารองรับ AEC โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี
วันอังคาร, 01 มีนาคม 2559 14:17

โครงการโรงไฟฟ้าไซยะบุรี

ความเป็นมา

          การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทำให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกๆ ปี กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมีภารกิจสาคัญในการจัดหาแหล่งผลิตไฟฟ้าเพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าให้เพียงพอและมั่นคง โดยมีอัตราค่าไฟฟ้าที่เหมาะสม และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
          จากภารกิจดังกล่าว กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้วางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้า โดยพิจารณาแหล่งผลิตภายในประเทศเป็นอันดับแรก ซึ่งประกอบด้วย โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงสะอาด เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินคุณภาพสูง โรงไฟฟ้าพลังน้ำแบบสูบกลับ การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น โดยมีการกระจายแหล่งเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าอย่างหลากหลาย เพื่อให้เกิดความมั่นคงต่อระบบการผลิตไฟฟ้า

          นอกจากการจัดหากำลังผลิตไฟฟ้าในประเทศแล้ว ยังมีอีกทางเลือกหนึ่งที่สาคัญ คือ การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน โดยรัฐบาลไทยได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding : MOU) กับรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้านสาหรับจำหน่ายให้ประเทศไทย โดยโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี เป็นโครงการที่จะผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อจำหน่ายให้แก่ประเทศไทยภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล สปป. ลาว

ลักษณะโครงการ

          โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี ตั้งอยู่ในแขวงไซยะบุรีของ สปป.ลาว เป็นการสร้างเขื่อนทดน้ำบนแม่น้ำโขงเพื่อยกระดับน้ำให้สูงขึ้น โดยไม่มีการผันน้ำออกจากแม่น้ำโขงและไม่มีการกักเก็บน้ำเหมือนเขื่อนที่มีอ่างเก็บน้ำทั่วๆ ไป การสร้างเขื่อนทดน้ำจะทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำโขงสูงขึ้นเฉพาะช่วงแขวงไซยะบุรี ไปถึงตอนใต้ของเมืองหลวงพระบาง โดยมีระดับน้ำใกล้เคียงกับระดับน้ำสูงสุดในฤดูน้ำหลากตามธรรมชาติ ส่วนตอนล่างของแม่น้ำโขงจะมีระดับน้ำปกติตามธรรมชาติ
          โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี มีลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 810 เมตร ความสูงหัวน้ำใช้งาน (Rated Net Head) 28.5 เมตร มีการติดตั้งประตูระบายน้ำเพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าจำนวน 10 บาน โดยติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาด 175 เมกะวัตต์ จำนวน 7 เครื่อง เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าให้แก่ประเทศไทย และขนาด 60 เมกะวัตต์ จานวน 1 เครื่อง เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าให้แก่ สปป. ลาว รวมกำลังผลิตติดตั้งทั้งสิ้น 1,285 เมกะวัตต์ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เฉลี่ยปีละ 7,370 ล้านหน่วย

          โครงการนี้ออกแบบให้มีประตูน้ำสำหรับเรือสัญจรติดกับเขื่อนด้านขวา กว้าง 12 เมตร ยาว 120 เมตร เพื่อรองรับการสัญจรทางน้ำสำหรับเรือขนส่งขนาด 500 ตัน และมีทางปลาผ่านเพื่อรักษาพันธุ์ปลา กว้าง 10 เมตร ติดกับเขื่อนด้านซ้าย นอกจากนี้ ยังออกแบบให้มีทางระบายน้ำล้นฉุกเฉินเพื่อช่วยระบายน้ำเมื่อเกิดอุทกภัยในฤดูน้ำหลาก เมื่อโครงการสร้างแล้วเสร็จ จะปล่อยน้ำไหลผ่านในแต่ละวันเท่ากับปริมาณน้ำที่ไหลเข้า โดยไม่มีการกักเก็บน้ำไว้ ดังนั้น ปริมาณน้ำในลุ่มแม่โขงจะเป็นไปตามธรรมชาติตลอดทั้งปี

ประโยชน์ของโครงการ

          เมื่อโครงการไซยะบุรีก่อสร้างแล้วเสร็จ จะส่งพลังไฟฟ้าให้ประเทศไทยจำนวน 1,220 เมกะวัตต์ ที่จุดส่งมอบไฟฟ้าชายแดนไทย-ลาว เป็นระยะเวลา 29 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป คิดเป็นพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยประมาณปีละ 6,929 ล้านหน่วย โครงการฯ มีอัตราค่าไฟฟ้าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามราคาเชื้อเพลิงในตลาดโลก และยังเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่แข่งขันได้เมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นๆ กล่าวคือ มีอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ณ ชายแดน 2.16 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง ตลอดอายุสัญญา 29 ปี ขณะที่โรงไฟฟ้าทางเลือกในประเทศ คือ โรงไฟฟ้าถ่านหิน และโรงไฟฟ้าใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) มีอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยอยู่ในช่วงประมาณ 2.90 ถึง 4.30 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง นอกจากนี้ การซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านยังเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีทางเศรษฐกิจและสังคมของทั้งสองประเทศ

การจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
          ผู้พัฒนาโครงการ (Xayaburi Power Company Limited) ได้ดำเนินการศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ในด้านผลกระทบต่อคุณภาพน้ำ อากาศ ดิน ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้ำ และระบบนิเวศวิทยาโดยรวม และนำเสนอรายงานการศึกษาดังกล่าว พร้อมทั้งแผนงานแก้ไขปัญหาผลกระทบต่อรัฐบาล สปป. ลาว

เนื่องจากโครงการฯ ตั้งอยู่บนลำน้ำโขง ผู้พัฒนาโครงการได้ดำเนินการออบแบบโครงการฯ ตามแนวทางปฏิบัติ (Guideline) ของคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง (Mekong River Commission : MRC) โดยมีแผนงานสำคัญในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สรุปได้ดังนี้
          1. การจัดทำระบบทางปลาผ่าน
          ผู้พัฒนาโครงการฯ จะจัดให้มีทางปลาว่ายน้ำผ่านขึ้นลงขนาดกว้าง 10 เมตร เพื่อให้ปลาสามารถเดินทางได้ตามฤดูกาลต่างๆ รวมทั้งจะจัดให้มีสถานีขยายพันธุ์ปลา เพื่อให้มั่นใจว่าจะมีผลผลิตที่เหมาะสมต่อการประกอบอาชีพประมงของประชาชนที่อาศัยตามริมฝั่งแม่น้ำโขง


          2. ช่องทางเดินเรือ
          ปัจจุบันการคมนาคมและการขนส่งทางเรือไม่สามารถทำได้ตลอดปี เพราะช่วงหน้าแล้งจะมีเกาะแก่งโผล่ขึ้นหลายแห่ง จึงเป็นอุปสรรคต่อการเดินเรือขนาดใหญ่ ผู้พัฒนาโครงการฯ จะก่อสร้างช่องทางเดินเรือที่รองรับเรือขนส่งสินค้าขนาดใหญ่ 500 ตัน ทำให้การเดินเรือสะดวกมากกว่าเดิม

          3. การระบายตะกอน
          สำหรับตะกอนแขวนลอยที่มากับน้ำนั้น โดยธรรมชาติจะมีมากในช่วงน้ำหลากที่มีปริมาณน้ำมากและน้ำไหลเร็ว ส่วนในฤดูแล้งตะกอนจะน้อยลง และเนื่องจากโครงการได้ปล่อยน้ำผ่านในปริมาณที่ไหลอยู่ตามธรรมชาติทุกวัน ความเร็วของน้ำจะใกล้เคียงกับธรรมชาติเดิม อย่างไรก็ตามโครงการได้ออกแบบให้มีประตูระบายทรายเพิ่มเติมไว้ เพื่อไม่ให้ขัดขวางการไหลของตะกอนและอาหารของสิ่งมีชีวิตในลาน้ำอีกส่วนหนึ่งด้วย

          4. การป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง

การป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง โครงการฯ จะรักษาการระบายน้ำให้เท่ากับปริมาณน้ำที่ไหลในลุ่มแม่น้ำโขงในแต่ละวัน โดยการควบคุมน้ำจะเป็นแบบรายวัน การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำเหนือเขื่อนไม่เกิน 0.5 เมตร และท้ายเขื่อนไม่เกิน 1.5 เมตร ดังนั้น เมื่อโครงการนี้แล้วเสร็จ ระดับน้ำด้านเหนือเขื่อนจะค่อนข้างคงที่ตลอดเวลา ส่วนทางด้านท้ายน้ำนั้นจะเป็นไปตามธรรมชาติ คือ ระดับน้ำจะสูงในฤดูน้ำมากและต่ำในฤดูน้ำน้อย ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำในแม่น้ำโขงตามปกติ

Download

 

 

Read 31248 times
Tweet
back to top
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400  โทร 0 2612 1555, โทรสาร 0 2612 1364 Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
เว็บนี้จะแสดงผลได้ดีที่สุดบน Internet Explorer 11 Chrome และ Firefox ทุกเวอร์ชั่น

การปฎิเสธความรับผิดชอบ | นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์