• Thailand (TH) language switcher
  • English (UK) language switcher

White Style normal-style white-yellow

decrease-font normal-font increase-font

Calendar  Youtube Youtube Facebook    
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับองค์กร
    • เกี่ยวกับองค์กร
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และหน้าที่
    • โครงสร้างองค์กร
    • ติดต่อเรา
    • ทำเนียบผู้บริหาร
    • ผังเว็บไซต์
    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง
      • เกี่ยวกับซีไอโอ
      • วิสัยทัศน์และนโยบายต่างๆ
      • การบริหารงานด้าน ICT
      • ข่าวสารจากซีไอโอ
      • ปฏิทินกิจกรรมซีไอโอ
  • นโยบายและแผน
    • คำแถลงนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาล
    • นโยบายด้านพลังงานของกระทรวงพลังงาน
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน
    • แผนแม่บทพลังงาน
    • แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว (TIEB)
      • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
      • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
      • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan)
      • แผนจัดหาก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan)
    • ยุทธศาสตร์สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี
    • การติดตามและประเมินผล
      • รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านพลังงานของประเทศไทย
      • รายงานความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติราชการ
      • รายงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
      • การดำเนินงานด้านพลังงานของ สนพ.
      • โครงการภายใต้กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • การดำเนินงานตามมติ กพช.
    • ความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
      • สหประชาชาติ
        • กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ (UNFCCC)
        • การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ (COP)
        • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • Joint Implementation (JI)
          • Emission Trading (ET)
          • Clean Development Mechanism (CDM)
          • Paris Agreement Adopted
        • Bali Action Plan
          • Bali Action Plan
          • AWG-LCA
          • NAMAS
          • Sectoral Approach : SA
          • MRV
          • AWG-KP
        • Concun Agreement
      • ประเทศไทย
        • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2550
        • คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
        • องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
        • แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ
        • แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564
        • ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2551-2555
      • กระทรวงพลังงาน
        • คณะทำงานประสานงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศฯ
        • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
        • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
        • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • อภิธานศัพท์
  • กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
    • พระราชบัญญัติ / พระราชกำหนด
    • คำสั่งนายกรัฐมนตรี
    • กฏกระทรวง
    • มติ ครม.ด้านพลังงาน
    • คำพิพากษาคดีที่เกี่ยวข้อง กับ สนพ.
    • ประกาศสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • การจัดทำสรุปสาระสำคัญและคำแปลกฎหมาย
  • คณะกรรมการ/อนุกรรมการ
    • คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.)
      • มติ
      • คำสั่ง
      • ประกาศ
    • คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.)
      • มติ
      • คำสั่ง
      • ประกาศ
    • คณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน (กพง.)
    • คณะกรรมการบริหารมาตรการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
    • คณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (กทอ.)
      • คณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • คณะอนุกรรมการกลั่นกรองงบประมาณกองทุนฯ
      • คณะอนุกรรมการประเมินผลโครงการภายใต้แผนอนุรักษ์พลังงาน
      • มติคณะกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • มติคณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
    • คณะกรรมการกองทุนเงินอุดหนุนจากสัญญาโรงกลั่นปิโตรเลียม
    • คณะกรรมการบริหารกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (กบน.)
  • บริการข้อมูลข่าวสาร
    • สถานการณ์พลังงาน
    • วารสารนโยบายพลังงาน
    • รายงานประจำปี
    • รายงานสถิติพลังงานประจำปี
    • รายงานผลการศีกษานโยบายพลังงาน
    • จดหมายข่าวอนุรักษ์พลังงาน
    • เอกสารเผยแพร่ / หนังสือ / สาระน่ารู้
      • เอกสารเผยแพร่
      • หนังสือ
      • สาระน่ารู้
    • ข่าว สนพ.
    • ข่าวพลังงาน
    • ประชาสัมพันธ์
    • ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
    • ประกาศรับสมัครงาน
    • ห้องสมุด สนพ.
    • INFOGRAPHIC
    • FAQ
    • บริการประชาชน
  • การกำกับดูแลองค์กร
    • การพัฒนาระบบบริหาร
      • นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี
      • กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ
      • คำรับรองการปฏิบัติราชการ (KPI)
      • การควบคุมภายใน
      • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
      • มาตรฐานและคู่มือการปฏิบัติงาน
      • แผนปฏิรูปองค์การ
      • ITA
    • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
    • แผนบริหารความต่อเนื่อง
    • แผนแม่บท ICT สนพ.
    • ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด
    • ศูนย์ประสานงานด้านความเสมอภาค ระหว่างหญิงชาย
    • ศูนย์บริการร่วม
    • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • สรุปผลการดำเนินงานจัดซื้อจัดจ้าง
      • งบประมาณ
      • กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
  • ติดต่อเรา
  • นโยบายและแผน
    • คำแถลงนโยบายด้านพลังงานของรัฐบาล
    • นโยบายด้านพลังงานของกระทรวงพลังงาน
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน
    • แผนแม่บทพลังงาน
    • แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว (TIEB)
      • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
      • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
      • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • แผนบริหารจัดการน้ำมันเชื้อเพลิง (Oil Plan)
      • แผนจัดหาก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan)
    • ยุทธศาสตร์สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
    • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี
    • การติดตามและประเมินผล
      • รายงานผลการประเมินดัชนีชี้วัดด้านพลังงานของประเทศไทย
      • รายงานความก้าวหน้าตามแผนปฏิบัติราชการ
      • รายงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
      • การดำเนินงานด้านพลังงานของ สนพ.
      • โครงการภายใต้กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
      • การดำเนินงานตามมติ กพช.
    • ความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
      • สหประชาชาติ
        • กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ (UNFCCC)
        • การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ (COP)
        • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
          • Joint Implementation (JI)
          • Emission Trading (ET)
          • Clean Development Mechanism (CDM)
          • Paris Agreement Adopted
        • Bali Action Plan
          • Bali Action Plan
          • AWG-LCA
          • NAMAS
          • Sectoral Approach : SA
          • MRV
          • AWG-KP
        • Concun Agreement
      • ประเทศไทย
        • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2550
        • คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
        • องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก
        • แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ
        • แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2560-2564
        • ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2551-2555
      • กระทรวงพลังงาน
        • คณะทำงานประสานงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศฯ
        • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP)
        • แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP)
        • แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP)
      • อภิธานศัพท์
นโยบายและแผน ความร่วมมือด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สหประชาชาติ Bali Action Plan Sectoral Approach : SA
วันอาทิตย์, 21 กุมภาพันธ์ 2559 09:59

Sectoral Approach: SA

 

          Sectoral Approach: SAตั้งแต่อนุสัญญาฯ ถูกรับรองขึ้นและประกาศพิธีสารเกียวโต   มาตรการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมุ่งเน้นการจัดการในรูปแบบ Country-specific Quantitative Approach คือการกำหนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้แต่ละประเทศ ซึ่งแต่ละประเทศจะไปกำหนดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของแต่ละสาขาการผลิตเอง ในประเทศที่พัฒนาแล้วซึ่งถูกจำกัดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ภาคการผลิตใดที่สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่าระดับเป้าหมายที่กำหนดไว้ สามารถนำเอา Carbon Credit ไปซื้อขายในตลาดการค้าคาร์บอนได้แต่แนวคิดหนึ่งของการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกใหม่หลังหมดพันธกรณีแรกของพิธีสารเกียวโต โดยมีแนวคิดการลดก๊าซเรือนกระจกด้วยการพิจารณาแยกตามรายสาขาการผลิตหรือบริการต่างๆ ที่มีปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงกว่าสาขาทั่วไป เช่นสาขาโรงงานเหล็ก โรงงานปูนซีเมนต์ อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน หรืออุตสาหกรรมด้านพลังงาน เป็นต้น โดยใน COP 16 นั้น ไม่ได้มีวาระและการเจรจาใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการในส่วนนี้อย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้นที่ปรึกษาจะสรุปรายละเอียดตามการเจรจาล่าสุดของ AWG-LCA 10 ดังนี้

          แนวทาง Cooperative Sectoral และข้อปฎิบัติที่เฉพาะเจาะจงตามรายสาขาควร (should) สอดคล้องกับข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องและหลักการที่กำหนดไว้ในอนุสัญญาฯ [โดยเฉพาะหลักการรับผิดชอบร่วมกันแต่แตกต่างกัน] [และอาจจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศภาคีที่จะสำรวจแนวทาง (Measures) และข้อปฎิบัติ (Actions) เหล่านี้ต่อไป] [ที่ซึ่งการจำกัดการปล่อยก๊าซฯ และการลดการปล่อยก๊าซฯ ที่ไม่ได้ถูกควบคุมภายใต้พิธีสารมอนทรีออล อันเนื่องมาจากเชื้อเพลิงที่ใช้สำหรับการบิน (Aviation) และเชื้อเพลิงที่ใช้สำหรับการขนส่งโดยเรือ (Marine Bunker Fuels) ควร (should) ได้รับการดำเนินการต่อไปผ่านทาง International Civil Aviation Organization สำหรับการบิน และ the International Maritime Organization สำหรับภาคการขนส่งโดยเรือ [โดยคำนึงถึงหลักการและข้อกำหนดที่ระบุไว้ในอนุสัญญาฯ] [ในอัตราการลดที่สอดคล้องกับเป้าหมายระยะยาวในระดับโลก ที่ระบุไว้ในหัวข้อวิสัยทัศน์ระยะยาวร่วมกัน ที่กล่าวไว้ในข้างต้นของร่างเอกสารการเจรจาฉบับนี้] ประเทศภาคีต้อง (shall) สืบสานแนวทางรายสาขา และข้อปฎิบัติที่เฉพาะเจาะจงตามรายสาขา เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามที่ระบุไว้ในมาตราที่ 4.1 (c) ของอนุสัญญาฯในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสาขาการผลิตภาคเกษตรกรรมดังที่ระบุไว้ในเอกสาร FCCC/AWG-LCA/2010/6 โดยสาระสำคัญที่ระบุไว้ในเอกสารที่กล่าวถึงคือ การดำเนินการตามแนวทาง Cooperative Sectoral และข้อปฎิบัติที่เฉพาะเจาะจงตามรายสาขาในภาคเกษตรกรรม ควรพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเกษตรกรรมและความมั่นคงทางอาหาร (Food Security) ความเชื่อมโยงระหว่างการปรับตัวและการลด กับความจำเป็นในการป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงทางอาหารจาการใช้แนวทางและข้อปฎิบัติเหล่านั้น โดยทุกประเทศภาคีได้ตัดสินใจบนหลักการความรับผิดชอบร่วมกันแต่แตกต่างกัน ที่ควร (should) ร่วมมือกันในด้านการค้นคว้าวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี, วิธีปฎิบัติ (Practices) และกระบวนการ (Process) ที่ควบคุม ลด และป้องกันการปล่อยก๊าซเรือนกระจก, การเพิ่มประสิทธิภาพและการเพิ่มผลผลิตในภาคเกษตรกรรมตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ซึ่งสามารถสนับสนุนการปรับตัวต่อความเสียหายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งเป็นการสนับสนุนความมั่นคงทางอาหารด้วยเช่นกันการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขาการผลิตเป็นกรอบแนวคิดมากกว่าแนวทางนโยบายใดแนวทางนโยบายหนึ่ง   ตั้งแต่อนุสัญญาฯ ถูกจัดตั้งขึ้น และประกาศใช้พิธีสารเกียวโต แนวทางนโยบายบรรเทาภาวะโลกร้อนมุ่งเป้าไปที่แนวทางองค์รวมของแต่ละประเทศ (comprehensive approach) ทางอนุสัญญาฯ ตั้งเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้แต่ละประเทศ แล้วรัฐบาลประเทศเหล่านั้นกระจายความรับผิดชอบไปให้แต่ละสาขาการผลิตภายในประเทศตัวเอง กรณีนี้มีชื่อเรียกคือ Country-specific Quantitative Approach ซึ่งก็ถือเป็น การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขาการผลิตรูปแบบหนึ่ง (รศ. ดร. นิรมล สุธรรมกิจ, 2553) แนวทางที่น่าสนใจอีกแนวทางหนึ่งคือ Transnational Quantitative Sectoral Approach เป็นความร่วมมือกันในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระดับนานาชาติ โดยการกำหนดระดับการปล่อยของแต่ละสาขาการผลิต คุณประโยชน์หลักๆ ของแนวทางฯ ในแต่ละสาขาการผลิตแบบนี้คือผู้ประกอบการในประเทศกำลังพัฒนาที่ไม่ได้ถูกผูกมัดตามพิธีสารเกียวโตก็สามารถมีส่วนร่วมได้การเจรจาสามารถทำได้โดยง่าย เนื่องจากแต่ละผู้เจรจาล้วนแล้วแต่เป็นผู้ประกอบการในสาขาเดียวกันช่วยลดปัญหาช่องว่างของการแข่งขันอันเกิดจากนโยบายสิ่งแวดล้อมที่ไม่สมมาตรระหว่างประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศกำลังพัฒนา อันจะนำไปสู่การรั่วไหลของคาร์บอน (Carbon Leakage)อย่างไรก็ดี คุณสมบัติของสาขาการผลิตที่เหมาะสมกับนโยบายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรูปแบบนี้ควรจะต้องเป็นอุตสาหกรรมที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จำนวนมหาศาลและมีศักยภาพที่จะลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้

ข้อมูล: บริษัทอีอาร์เอ็ม-สยาม จำกัด

 

Read 11441 times
Tweet
back to top
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน
121/1-2 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400  โทร 0 2612 1555, โทรสาร 0 2612 1364 Email: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
เว็บนี้จะแสดงผลได้ดีที่สุดบน Internet Explorer 11 Chrome และ Firefox ทุกเวอร์ชั่น

การปฎิเสธความรับผิดชอบ | นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์